แจ้งข่าวนักศึกษา012173

วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2568

พุทธนวัตศิลป์ บรรณานุกรม

 

บรรณานุกรม

พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์

พระไตรปิฎกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ขุ.ชา. มหาเวสฺสนฺตรชาตกํ. ๒๘/๑๐๔๕-๑๒๖๙/๓๖๕-๔๕๓.  (ขุทฺทกนิกายสฺส ชาตกํ ปญฺญาสมหา

นิปาตชาตกํ, สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ) กรุงเทพฯโรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๒๓.

ขุ.อป. เวสฺสนฺตรจริยํ. ๓๓/๙.๖๘-๙.๑๒๕/๕๕๙-๕๖๙. (พุทฺธวํโส จริยาปิฏกํ นวมํ เวสฺสนฺตรจริยํ)

กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย๒๕๒๓. เวสสันตรจริยาที่ , พระสุตตันตปิฎก

 เล่มที่ ๒๕,ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒, พุทธวังสะ-จริยาปิฎก :  “เราสละพ่อชาลี แม่กัณหา

ชินาผู้ธิดา และพระนางมัทรีเทวีผู้มีจริยาวัตรอันงาม ไม่คิดถึงเลย เพราะเหตุแห่งโพธิญาณ

นั่นเอง เราจะเกลียดบุตรทั้งสองหามิได้ จะเกลียดพระนางมัทรีก็หามิได้ แต่สัพพัญญุตญาณ

เป็นที่รักของเรา ฉะนั้น เราให้บุตรและภรรยาผู้เป็นที่รัก”

ม.อุปริ. เทวทูตรสูตร ๑๔/๕๐๔-๕๒๕/๒๘๕-๒๙๖.

ชา.อ.๑๐.  มหานิปาต เวสฺสนฺตรชาตกวณฺณนา, (ขุทฺทกนิกาเย ชาตกปาฬิยา สํวณฺณนาภูตา

 ชาตฏฺฐกถา ทสโม ภาโค มหานิปาตวณฺณนา;  อรรถกถา ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

 โครงการชำระ ตีพิมพ์อรรถกถาบาลี โดย พร รัตนสุวรรณ ชาดกเรื่องที่ ๕๔๗).

 กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.๒๕๓๕”. 

 

หนังสือทั่วไป

ประคอง นิมมานเหมินทร์, มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะที่เป็นวรรณคดท้องถิ่น.

ลิขสิทธิ์ภาษาไทยของมูลนิธิโครงการดำราสำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 

กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด. ๒๕๒๖.

พระธรรมโกศาจารย์ (ชอบ อนุจารี). ปริทรรศน์ เวสสันดรชาดก. กรุงเทพฯ :

อมรินทร์การพิมพ์. ๒๕๒๘.

พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)นักวิชาการเทศ-ไทย หาความรู้ให้แน่ ใช่แค่คิดเอา 

(พิมพ์ครั้งที่ ๒)กรุงเทพฯ : เจริญดีมั่นการพิมพ์. ๒๕๕๔.

พระมหาประมวล ฐานทตโต, มาลัยหมื่น – มาลัยแสน ปริทรรศน์. ขอนแก่น: จัดพิมพ์โดย

วัดธาตุ (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. ๒๕๕๕.

พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว)มหาชาติภาคพายัพ ฉบับสร้อยสังกร, เชียงใหม่ :  

สังฆการพิมพ์. ๒๕๐๘.

พิสิฏฐ์ โคตรสุโพธิ์,  “พระมหาเวสสันตรทีปนี : สาระ คุณค่า และนัยสำคัญต่อวิถีสังคมและวัฒนธรรม

ล้านนา”,  ตามรอยพระสิริมังคลาจารย์ สังฆปราชญ์ล้านนา, สำนักวิชาการ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่. ๒๕๕๕.

มณี พยอมยงค์. ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่ : ๒๕๔๓

ลิขิต ลิขิตานันทะ“วรรณกรรมบาลีของประเทศไทย (The Pali Literature of Thailand),  

ดุษฎีนิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิต สาขาบาลีศึกษา มหาวิทยาลัยมคธ อินเดีย๑๙๖๙. 

(ฉบับพิมพ์ใหม่ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยอาจารย์สมใจ นิลเกษ. ๒๕๕๒).

ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา.  วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย. (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพิมพ์ขึ้นเป็นที่ระลึก

ในการพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา) กรุงเทพฯ :

อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. ๒๕๔๕.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต),  พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.

ข้อ  ๓๒๕.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ปฐมสมฺโพธิ (ภาษาบาลี บาลี). กรุงเทพฯ :   

          คณะสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ จัดพิมพ์ครั้งที่ ๑. ๒๕๓๗.

สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รายชื่อหนังสือโบราณล้านนา : เอกสารไมโครฟีล์ม

          (ฉบับปรับปรุง). เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ๒๕๕๒.

สุภาพรรณ ณ บางช้าง. วิวัฒนาการวรรณคดีบาลีสายพระสุตตันปิฎกที่แต่งในประเทศไทย.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย๒๕๓๙.

หอสมุดแห่งชาติ. เวสสันตรทีปนี ภาคภาษาบาลี.  กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ. ๒๕๔๐.

อุดม รุ่งเรืองศรีสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ. เชียงใหม่ :  ๒๕๔๒.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น